ประกาศวิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย
ที่ 32 / 2567
เรื่อง การรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมเป็นผู้มีความรู้ ความชำราญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
สาขาเภสัชบำบัด ประจำปี พ.ศ.2568
*******************************************************************************************
หน่วยงานที่รับผิดชอบ : วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย
สถาบันหลัก :
1. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
3. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
5. คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
7. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
8. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
9. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1. วันที่รับสมัคร: 16 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน 2567
2. จำนวนผู้ฝึกอบรมที่จะรับทั้งหมด 58 คน (รวมทั้ง 9 สถาบัน)
2.1 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 4 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.1.1 Internal medicine
2.1.2 Nephrology
2.1.3 Infectious disease
2.1.4 Hematology/Oncology
2.1.5 Critical care
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขาขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.2 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 6 คน
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.2.1 Internal medicine
2.2.2 Infectious disease
2.2.3 Critical care
2.2.4 Oncology
2.2.5 Cardiology
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.3 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 8 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.3.1 Oncology
2.3.2 Community Pharmacy
2.3.3 Internal medicine
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.4 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 10 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.4.1 Internal medicine
2.4.2 Infectious disease
2.4.3 Critical care
2.4.4 Nephrology
2.4.5 Oncology
2.4.6 Neurology Diseases
2.4.7 Psychiatry Diseases
2.4.8 Geriatrics Pharmacotherapy
2.4.9 Cardiology
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.5 คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 10 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.5.1 Infectious disease
2.5.2 Cardiology
2.5.3 Oncology
2.5.4 Neurology Diseases
2.5.5 Nephrology
2.5.6 Critical care
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.6 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 8 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.6.1 Internal medicine
2.6.2 Infectious disease
2.6.3 Clinical pharmacokinetics
2.6.4 Critical care
2.6.5 Nephrology
2.6.6 Clinical nutrition
2.6.7 Hematology / Oncology
2.6.8 Neurology
2.6.9 Cardiology
2.6.10 Ambulatory care
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.7 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 5 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.7.1 Internal medicine
2.7.2 Critical care
2.7.3 Nephrology
2.7.4 Psychiatry
2.7.5 Pediatrics
2.7.6 Oncology
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.8 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 4 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.8.1 Cardiology
2.8.2 Infectious disease
2.8.3 Nephrology
2.8.4 Oncology
2.8.5 Pediatrics
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
2.9 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 3 ราย
สาขาที่เปิดรับฝึกอบรม
2.9.1 Cardiology
2.9.2 Infectious disease
2.9.3 Nephrology
2.9.4 Oncology
2.9.5 Internal medicine
2.9.6 Neurology
2.9.7 Psychiatry
และสาขาอื่นๆ การฝึกอบรมบางสาขา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของสถาบันฝึกอบรม
3. คุณสมบัติของผู้สมัคร
3.1 เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม และ
3.2 มีประสบการณ์ในการให้บริการทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยอย่างน้อย 500 ชั่วโมง (จำนวนชั่วโมงอาจนับรวมระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติงานในหลักสูตรการศึกษา)
3.3 มีคุณสมบัติเทียบเท่าที่สภาเภสัชกรรมรับรอง
4. หลักฐานประกอบการรับสมัคร
-
- ใบสมัครที่กรอกข้อความครบถ้วน และติดรูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว เรียบร้อยแล้ว จำนวน 2 ชุด
- สำเนาใบปริญญาบัตร (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาแล้ว) จำนวน 2 ชุด
- สำเนาใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม จำนวน 2 ชุด
- หนังสือรับรองว่ากำลังศึกษาภาคการศึกษาสุดท้าย (สำหรับผู้ที่กำลังศึกษา) จำนวน 2 ชุด
- สำเนาใบประมวลผลการศึกษา (Transcript) ระดับปริญญาตรี/โท/เอก จำนวน 2 ชุด
- สำเนาใบทะเบียนสมรส / ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล (กรณีชื่อ-สกุล ไม่ตรงกับหลักฐานการสมัครอื่นๆ)
- หนังสือรับรองการศึกษาและคุณสมบัติประจำตัว (Recommendation) ของผู้ประเมินทั้งหมด 3 คน คนละ 1 ชุด
- Curriculum Vitae (CV) จำนวน 2 ชุด
- หนังสือรับรองประสบการณ์ในการให้บริการทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยอย่างน้อย 500 ชั่วโมง จำนวน 2 ชุด
- หนังสืออนุญาตให้เข้ารับการฝึกอบรมจากต้นสังกัด จำนวน 2 ชุด
- สำเนาหลักฐานการชำระเงินค่าธรรมเนียมสมัครสอบคัดเลือกฯ จำนวน 1 ฉบับ
5. ผู้สนใจสามารถติดต่อขอรับใบสมัครได้ที่ :
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ ดังในข้อ 6 หรือ Download ใบสมัครและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ที่
Website วิทยาลัยเภสัชบำบัดฯ http://thaibcp.pharmacycouncil.org
6. ติดต่อผู้รับผิดชอบหลักสูตรของสถาบันหลัก
6.1 ผศ.ดร.ภญ.สิริมา สิตะรุโน
ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โทรศัพท์ 074 288 872 โทรสาร 074 428 222
E-mail addresses: sirima@pharmacy.psu.ac.th
6.2 อ.ดร.ภญ.วิรินทร์ อันล้ำเลิศ
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
โทรศัพท์ 055 963 600 E-mail address: wirinu@nu.ac.th
6.3 ผศ.ดร.ภก.สุธาร จันทะวงศ์
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทรศัพท์ 043 348 353 E-mail address: suthch@kku.ac.th
6.4 ผศ.ดร.ภญ.พิชญา ดิลกพัฒนมงคล
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
โทรศัพท์ 0 2644 8694 E-mail address : pitchaya.dil@mahidol.ac.th
6.5 ผศ.ดร.ภญ.โชติรัตน์ นครานุรักษ์
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โทรศัพท์ 08 6563 9695 E-mail address : chotirat.n@pharm.chula.ac.th
6.6 ผศ.ดร.ภญ.จุฑาทิพย์ สุพรรณกลาง
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
โทร 08 9194 2995 E-mail address : SUPHANKLANG_J@su.ac.th
6.7 ผศ.ดร.ภญ.วรธิมา อยู่ดี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทร 053 944 351 E-mail address : voratima.silavanich@cmu.ac.th
6.8 อ.ดร.ภญ.ปวลี เนียมถาวร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โทร 02-986-9213 E-mail address: npawalee@staff.tu.ac.th
6.9 อ.ดร.ภญ.อัญมณี ลาภมาก
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
โทร 045 363 623 E-mail address: anyamaneelapmag@gmail.com
7. ส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานประกอบ ไปที่ :
สภาเภสัชกรรม (วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย) ชั้น 8 อาคารมหิตลาธิเบศร กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
8. ค่าธรรมเนียมสมัครสอบคัดเลือกเพื่อเข้ารับการฝึกอบรมฯ
เป็นเงิน 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) ชำระได้ 2 ช่องทาง ดังนี้
1. ส่งเป็นเช็ค /ธนาณัติ หรือ Draft สั่งจ่ายในนาม สภาเภสัชกรรม
2. โอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
– ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่อยกระทรวงสาธารณสุข ชื่อบัญชี สภาเภสัชกรรม
เลขที่บัญชี 340-2-01454-8 ประเภทบัญชีเงินฝาก ออมทรัพย์ หรือ
– ธนาคารกรุงไทย สาขากระทรวงสาธารณสุข ชื่อบัญชี สภาเภสัชกรรม
เลขที่บัญชี 142-1-06705-6 ประเภทบัญชีเงินฝาก ออมทรัพย์
9. กำหนดการสอบ : เดือนมกราคม 2568 รูปแบบการสอบ : สอบผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
10. คำแนะนำหลักสูตร
10.1 หลักสูตรนี้มุ่งเน้นเพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมมีความรู้ และความชำนาญในสาขาเภสัชบำบัด
อย่างครบถ้วนและมีความสามารถในการทำการวิจัยเชิงลึก
10.2 ระยะเวลาการฝึกอบรม 4 ปี โดยแบ่งการฝึกอบรมดังนี้
ปีที่ 1 General Residency Training ระยะเวลา 1 ปี
ปีที่ 2-3 Specialized Residency Training ระยะเวลา 2 ปี
ปีที่ 4 Research Fellowship ระยะเวลา 1 ปี
ผู้ฝึกอบรมสามารถเข้ารับการฝึกอบรมไม่ต่อเนื่องได้ โดยสามารถเว้นช่วงฝึกอบรมหลังจากสิ้นสุด การฝึกอบรมในปีที่ 1 และปีที่ 3 ได้โดยระยะเวลาการฝึกอบรมโดยรวมไม่เกิน 8 ปี